กลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล
โทร. 073-xxxx-xx

ขอบเขต

พันธกิจและแนวทาง

ดำเนินงานตามประเด็นยุทธศาสตร์พัฒนาอนามัยแม่และเด็กตามมาตรฐานงานฝากครรภ์ โดยเน้นด้านการพัฒนาระบบบริการฝากครรภ์คุณภาพ ปลอดภัย และได้มาตรฐาน ทบทวน บริการสะท้อนบทบาทองค์ความรู้เพื่อพัฒนาระบบงาน รูปแบบบริการ สร้างนวัตกรรมการส่งเสริม สุขภาพด้านการฝากครรภ์ที่มีคุณภาพ ถ่ายทอดองค์ความรู้สู่เครือข่าย เพื่อให้ระบบบริการฝากครรภ์มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ผู้รับบริการพึงพอใจ

สนับสนุนจากเครือข่าย เช่น ชุมชนสายใยรัก, อสม., แม่ชุมชน, และผู้นำศาสนา

บริการที่ให้

  1. ให้บริการคัดกรอง ประเมิน และตรวจวินิจฉัยสุขภาพของมารดาและทารกในครรภ์
  2. ตรวจคัดกรองภาวะความผิดปกติระหว่างตั้งครรภ์
  3. คัดกรองความเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ ให้คำปรึกษา และให้บริการฝากครรภ์
  4. ส่งต่อผู้ป่วยในรายที่มีภาวะแทรกซ้อน เช่น โรคหัวใจ, เบาหวานที่มีโรคแทรกซ้อน, และความดันโลหิตสูง

อัตรากำลัง

อัตรากำลัง

  • พยาบาลวิชาชีพ (อนามัยและเด็ก): 3 คน (รวมหัวหน้างาน)
  • ผู้ช่วยเหลือคนไข้: 1 คน
  • พนักงานบริการ: 1 คน
  • อัตรากำลังพยาบาลต่อผู้รับบริการ ANC High Risk: 1:15

การวางแผนด้านอัตรากำลัง

  1. จัดให้มีพยาบาลให้บริการวันละ 2 คน
  2. จัดให้มีผู้ช่วยเหลือคนไข้ 1 คน และพนักงานบริการ (บันทึกข้อมูล) 1 คน
  3. หากมีเจ้าหน้าที่พยาบาลติดราชการ อบรม สัมมนา หรือ ลา ให้มีพยาบาลวิชาชีพในฝ่ายงานมาทำงานแทน
  4. การนัดหมายผู้มารับบริการ กระจายจำนวนผู้มารับบริการตามความเหมาะสม เพื่อลดระยะเวลาการรอคอย

เเผนงานโครงการ

service profile QA 67

ทบทวน 12 โปรเเกรม

ผลงานภาคภูมิใจ

7.1 ผลลัพธ์ด้านการบริการพยาบาล

ลำดับ ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2563 2564 2565 2566 2567
1 อัตราตายปริกำเนิด ต่อ 1,000 การเกิด < 9 5.34 9.62 10.36 10.02 9.58
2 อัตราส่วนการตายของมารดาจากการตั้งครรภ์และการคลอด ต่อแสนการเกิด < 27 0 0 1 0 0
3 อัตราฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 75 73.96 81.02 79.92 80.40 80.23
4 อัตราทารกน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม ไม่เกิน ร้อยละ 7 8.45 7.26 8.15 8.37 6.90
5 อัตราหญิงตั้งครรภ์ที่ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 75 63.04 74.4 70.15 75.48 77.31
6 อัตราหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางใกล้คลอด ไม่เกิน ร้อยละ 14 29.22 25.29 24.25 17.36 15.64
7 ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน ร้อยละ 100 61.57 88.08 98.36 97.44 97.20
8 อุบัติการณ์หญิงตั้งครรภ์มีภาวะ PIH 0 NA NA 7 4 5
9 อุบัติการณ์หญิงตั้งครรภ์ ไม่ได้รับการคัดกรองเบาหวานก่อน 28 สัปดาห์ 0 NA NA 4 5 3
10 ร้อยละของหญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 75 89.37 81.39 88.35 82.65 88.91
11 อัตราการติดเชื้อ HIV ในหญิงตั้งครรภ์ 0 1 0 1 1 0
12 อัตราหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ HIV ได้รับยาต้านไวรัส ร้อยละ 100 100 100 100 100 100
13 ร้อยละของเด็กตั้งแต่ทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ำกว่า 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว ร้อยละ 50 59.81 72.79 76.88 77.75 64.60
14 อุบัติการณ์การระบุตัวผู้รับบริการผิดคน 0 0 0 0 0 1
15 อุบัติการณ์ความผิดพลาดในการบริหารยา 0 0 0 0 1 0
16 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการบริการพยาบาล ร้อยละ 80 85.69 83.46 86.78 86.97 89.76
17 จำนวนข้อร้องเรียนเรื่องละเมิดสิทธิผู้ป่วย 0 0 0 0 0 0
18 จำนวนข้อร้องเรียนเรื่องพฤติกรรมบริการ 0 0 0 0 0 0

7.2 ผลลัพธ์ด้านการบริการพยาบาล

ลำดับ ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2563 2564 2565 2566 2567
1 ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ OP Voice ร้อยละ 85 86.78 83.66 85.78 85.86 86.97
2 ความไม่พึงพอใจของผู้ใช้บริการ ไม่เกิน ร้อยละ 15 13.22 16.34 14.22 17.14 13.03
3 จำนวนข้อร้องเรียนของผู้ใช้บริการ 0 0 0 2 1 0
4 จำนวนข้อร้องเรียนที่ได้รับการแก้ไข ร้อยละ 100 0 0 100 100 0

7.3 ผลลัพธ์ด้านประสิทธิภาพ

ลำดับ ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2563 2564 2565 2566 2567
1 ร้อยละคุณภาพของการใช้กระบวนการพยาบาล ร้อยละ 80 NA NA NA 77.56 81.56
2 อุบัติการณ์หญิงตั้งครรภ์ไม่ได้รับการดูแลตามมาตรฐาน 0 0 0 1 2 0

7.4 ผลลัพธ์ด้านบุคลากร

ลำดับ ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2563 2564 2565 2566 2567
1 ร้อยละการคงอยู่ของบุคลากรพยาบาล ร้อยละ 90 100 100 100 100 100
2 ร้อยละบุคลากรพยาบาลฝากครรภ์มีสมรรถนะตามเกณฑ์ ร้อยละ 80 NA NA NA 100 100
3 อัตราการลาออก/โอนย้ายของพยาบาลวิชาชีพ ไม่เกินร้อยละ 10 0 0 0 0 0
4 ร้อยละความพึงพอใจในงานของบุคลากรพยาบาล ร้อยละ 80 NA NA NA 86.87 87.65
5 ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลได้รับการอบรมที่เกี่ยวข้องงานอนามัยแม่และเด็ก 10 วัน/คน/ปี ร้อยละ 80 100 100 100 100 100
6 จำนวนอุบัติการณ์การเกิดอุบัติเหตุจากการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการพยาบาล (เข็มตำ) 0 0 0 0 0 0
7 ร้อยละบุคลากรทางการพยาบาลได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี ร้อยละ 100 100 100 100 100 100
8 ร้อยละของพยาบาลวิชาชีพงานฝากครรภ์ได้รับการฟื้นฟูทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นสูงอย่างน้อย 1 ครั้ง/คน/ปี ร้อยละ 100 100 100 100 100 100

7.5 ผลลัพธ์ด้านระบบงานและกระบวนการสำคัญ

ลำดับ ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2563 2564 2565 2566 2567
1 ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาล ได้รับซ้อมสถานการณ์อุบัติเหตุ/ภาวะฉุกเฉิน ร้อยละ 100 100 100 100 100 100
2 ร้อยละ ของบุคลากรทางการพยาบาลได้รับการซ้อมแผนอัคคีภัย ร้อยละ 100 100 100 100 100 100
3 ผ่านเกณฑ์ประเมินมาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็ก ผ่าน ผ่าน - - ผ่าน รอประเมิน

7.6 ผลลัพธ์ด้านการนำองค์กร

ลำดับ ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2563 2564 2565 2566 2567
1 ร้อยละแผนงาน/โครงการที่บรรลุเป้าหมาย ร้อยละ 80 NA NA 100 100 100
2 จำนวน ผลงานวิชาการวิจัย นวัตกรรมR2R ทางการพยาบาลในหน่วยงาน 2 เรื่อง/ปี 0 0 0 0 0

ภาพกิจกรรม

แนวปฏิบัติ/CNPG

ติดต่อ

ที่อยู่ของโรงพยาบาล

138 ม.6 ต.ยะหา อ.ยะหา จ.ยะลา 95120

เบอร์ติดต่อ

073-291166
073-291023

Loading
Your message has been sent. Thank you!